7 วันในมาเลเซียของสมเด็จพระเทพฯ. กรุงเทพฯ : อักษรบัณฑิต, 2526.
กรมทรัพย์สินทางปัญญา. เทพรัตนวิศิษฏศิลป์. นนทบุรี : กรมทรัพย์สินทางปัญญา กระทรวงพาณิชย์, 2550.
กรมทรัพยากรธรณี. สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี กับงานธรณีวิทยา. กรุงเทพฯ : กรมทรัพยากรธรณี, 2535.
กรมศิลปากร. สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี กับพระราชกรณียกิจด้านศิลปวัฒนธรรมในต่างประเทศ
ระหว่าง พ.ศ.2528-2533. กรุงเทพฯ : อมรินทร์พริ้นติ้งกรุ๊พ, 2535.
กรมศิลปากร. สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี กับการอนุรักษ์มรดกของชาติ. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร 2528.
กุลทรัพย์ เกษแม่นกิจ. สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี "มิตรนานาชาติสิบอันดับแรกของสาธารณรัฐ
ประชาชนจีน". สกุลไทย 56,2894 (6 เม.ย. 2553) : 4-5,33-35.
กุลทรัพย์ เกษแม่นกิจ. สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี องค์เอกอัครอุปถัมภกมรดกไทย อุทยานพระบรม
ราชานุสรณ์ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย. สกุลไทย 52,2686(11 เม.ย. 2549),6-7, 33-35.
กุลทรัพย์ เกษแม่นกิจ และ สุภัทร สวัสดิรักษ์, บรรณาธิการ. ปิยชาติสยามบรมราชกุมารี. กรุงเทพฯ : สมาคมนักเขียนแห่ง
ประเทศไทย, 2528.
เกศราพร มากจันทร์. พระอารมณ์ขันสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ในพระราชนิพนธ์สารคดีท่องเที่ยว
สาธารณรัฐประชาชนจีน. วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 30,1(2551) : 9-40.
เกรียงจิตร มิตรยอดวงศ์. แสงคือสี... สีคือแสง. Phototech 16,164(ก.ค. 2550) : 93-94.
คณะกรรมการจัดงานเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ. ประมวลพระราชกรณียกิจ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ
สยามบรมราชกุมารี. กรุงเทพฯ : คณะกรรมการจัดงานเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ, 2538.
ความรักผูกพันกับจีน : การระลึก 30 ปี สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารีเสด็จฯ เยือนจีน. กรุงเทพฯ : อมรินทร์, 2554.
โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี. IT Newsleter 3,1(ม.ค.- ก.พ. 2538) : 1-3.
จรัญญา นฤตย์ศาสตร์. การจัดทำคลังข้อมูลเครื่องดนตรีส่วนพระองค์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี.
วิทยานิพนธ์ ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวัฒนธรรมศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล, 2540.
จัดแสดงผลงานพระอัจฉริยภาพ 3 พระองค์ : ทรัพย์สินทางปัญญาในหลวงรัชกาลที่ 9. x-cite 1, 4. 2544.
จรรยา มาณะวิท. โครงการสนองแนวพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี โครงการศึกษาวิจัย
โบราณคดีและประวัติศาสตร์เมืองนครนายก. ศิลปากร 39,2(มี.ค-เม.ย. 2539) : 4-9.
จ้าว, เขวีย. การเสด็จพระราชดำเนินของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ตามเส้นทางสู่ที่ราบสูง. [ม.ป.ท. : ม.ป.พ.], 2550.
จิตรกรรมฝีพระหัตถ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี. Art of Living, 2,16(ต.ค. 2539) : 110-115.
จิตมา. สมเด็จพระเทพรัตน์ฯ กับวิชาร์โมท เซนซิง. สตรีสาร 42,3(9 เม.ย. 2532) : 34-37.
จีราภา ชาติสุวรรณ . สมเด็จพระเทพรัตน์ฯ กับการศึกษานอกโรงเรียน. จุลสารวิมานเมฆ 2,12(เม.ย.-พ.ค. 2542) : 20-23.
ชงโค 41. เรื่องเล็กๆ ของชงโคดอกหนึ่งในร่มจามจุรี. สกุลไทย 54,2786 (11 มี.ค. 2551) : 32-35 ; 54,2787 (18 มี.ค.
2551) : 32-35 ; 54,2788 (25 มี.ค. 2551) : 32-35.
ช่อปาริชาต. สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานหนังสือหายาก
ทรงคุณค่าแก่ห้องสมุดดิจิทัล. สกุลไทย 57,2969 (13 ก.ย. 2554) : 22-23 ; 57,2970 (20 ก.ย. 2554) : 22-23.
ชาริณี เชาวน์ศิลป์. ชวนอ่าน วิจารณ์หนังสือ : มุ่งไกลในรอยทรายทางสายไหมในรอยยาตรา. สะบันงา 11,2 (ก.ค.-ธ.ค. 2541) : 71-81.
ชีวิตที่หมุนไปไม่หยุดยั้ง นิทรรศการภาพถ่ายฝีพระหัตถ์ สมเด็จพระเทพฯ แสดงเป็นปฐมฤกษ์ หอศิลป์ กทม. จุลสาร
กรุงเทพมหานคร 26,208 (ส.ค.-ก.ย. 2551) : 23-25.
ญาดา อรุณเวช อารัมภีร. ความรู้สู่ความรู้. สกุลไทย 53,2739 (17 เม.ย. 2550) : 86-87.
ญาดา อรุณเวช อารัมภีร. อัจฉริยะทางดนตรี. สกุลไทย 52,2705 (22 ส.ค. 2549) : 68-69.
ญาดา อรุณเวช อารัมภีร. ปลาน่าทึ่ง. สกุลไทย 50, 2573 (10 ก.พ. 2547) : 119, 120.
ดาวรัตน์ ชูทรัพย์. สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ กับงานวรรณกรรมเยาวชน. ศิลปากร 46,2 (มี.ค.-เม.ย. 2546) : 7-25.
เดวิส, บอนนี. สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี "เจ้าหญิงที่รักยิ่งของปวงชน”. แปลโดย ศุลีพร บุญบงการ.
มูลนิธิชัยพัฒนา (เม.ย. 2547) : 4-13.
ทศพนธ์ นรทัศน์. สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี กับการพัฒนาสังคม. วารสารสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและ
สังคมแห่งชาติ 4,2 (เม.ย.-มิ.ย. 2552) : 4-24.
ทศพิธ. สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี กับรางวัลอินทิรา คานธี ประจำปี 2547. สกุลไทย 52,2681 (7 มี.ค. 2549) : 32-35.
ทักษิณา ณ ตะกั่วทุ่ง. โลกของสัตว์และพืช ชุด เฉลิมพระเกียรติ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช, 2542.
ทินกร. เอกลักษณ์ไทย : บทพระราชนิพนธ์เรื่องเหตุใดข้าพเจ้าจึงชอบดนตรีไทย. วารสารกำนันผู้ใหญ่บ้าน 39,4 (เม.ย. 2531) : 21-31.
เทิดพระเกียรติสมเด็จฯเจ้าฟ้ามหาจักรีสิรินธร : ทรงพระสำราญท่ามกลางความเป็นกันเอง. คมชัดลึก (21 ก.พ. 2546) : 32.
ธงทอง จันทรางศุ. เอกอัจฉริยภาพเชิงดนตรี...ราชกุมารีไทย. ผาสุก 14,79 (2534) : 4-8.
ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด. สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ทูลกระหม่อมน้อยของเรา. กรุงเทพฯ : ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด, 2521.
ธวัชชัย เตวิน. วัดเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารี. วิทยานิพนธ์ (สถ.บ.) –จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555.
นุชเนตร ศรีศิริ. ทูลกระหม่อมอาจารย์ กับงานพัฒนาหอสมุด รร.จปร. เสนาศึกษา 69,1 (ม.ค.-เม.ย. 2546) : 1-9.
บุญรักษา สุนทรธรรม และ ไพรัช ธัชยพงษ์. รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชฯ : ยุคทองของดาราศาสตร์ไทย.
กรุงเทพฯ : สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน), 2555.
เบ็ญจา เสกธีระ. สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ เสด็จทอดพระเนตรซากกระดูกไดโนเสาร์. ข่าวสารการธรณี 40,4 (2538) : 1-5.
ประกาศ วัชราภรณ์. นักเขียน นักหนังสือพิมพ์. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์, 2527.
ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งศาสตราจารย์พิเศษ. ราชกิจจานุเบกษา 108,5019 (มี.ค. 2534) : 2593 (**)
ประมวลคำประกาศราชสดุดีเฉลิมพระเกียรติคุณ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี. กรุงเทพฯ :
มูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา, 2549.
ประมวลพระบรมฉายาลักษณ์ สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสิรินธรเทพรัตนสุดา กิติวัฒนาดุลโสภาคย์ ขณะทรงศึกษา
ณ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2520.
ไปรษณียบัตรส่วนพระองค์ บันทึกการเดินทาง...สู่เส้นทางไปรษณีย์. วารสาร กสท. (ก.ค. 2542) : 3-8.
พงษ์พันธ์ วิเชียรสมุทร. สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารีกับการแก้ไขปัญหาความยากจน. เทศาภิบาล 101,4 (เม.ย. 2549) : 5-10.
พรรณประภา อินทรวิทยนันท์ ผู้เรียบเรียง. สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี กับโครงการอาหารและ
โภชนาการ สำหรับเด็กไทย. กินรี 13,4 (เม.ย. 2539) : 124-128.
'พระเทพฯ' ทรงนิพนธ์เล่มใหม่พระราชทานงานหนังสือปี' 42. มติชน (27 ม.ค.2542) : 10.
พระเทพฯ ทรงแนะ ศธ. ฟื้นวิชาประวัติฯไทย. มติชน (19 ม.ค.2542) : 10.
พระเทพฯ ทรงเปิดร้าน 'ภูฟ้า'. มติชน (28 ก.ย. 2544) : 27.
พระเทพฯ เสด็จทรงเปิดคฤหาสน์กูเด็น. มติชน (10 มิ.ย. 2543) : 18.
พระนิพนธ์ในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี. ศิลปวัฒนธรรม 6,7 (พ.ค. 2528) : 65-71.
พระราชกฤษฎีกา ตั้งอำเภอสิรินธร พ.ศ. 2534. ราชกิจจานุเบกษา ฉบับพิเศษ 108,211 (4 ธ.ค. 2534) : 29-31.
พระราชกรณียกิจในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี. วารสารอันเนื่องมาจากพระราชดำริ 3,1 (ม.ค.-มี.ค. 2548) : 14-20.
พระราชกรณียกิจสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารีด้านเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อคนพิการ. สาร Nectec 9,49 (พ.ย.-ธ.ค. 2545) : 6-13.
พิชาภา สุธรรมวดี. สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี องค์พระผู้เป็นดุจเสาหลักแห่งการอนุรักษ์ไทย.
หลักไท19,738 (7 เม.ย. 2539) : 2-3.
พิษณุ ศุภนิมิตร. 10 อันดับภาพฝีพระหัตถ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ที่ทรงคุณค่าทางศิลปะ.
วารสารไทย 30,111 (ก.ค.-ก.ย. 2552) : 29-36.
พิมพร ชัยจิตร์สกุล. สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารีกับดนตรี. วารสารวัฒนธรรมไทย 39,4 (เม.ย.-พ.ค. 2545) : 35-37.
พูนพล อาสนจินดา ... [และคนอื่น ๆ]. จากห้วงอวกาศสู่พื้นแผ่นดินไทย. กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ, 2534.
ไพฑูรย์ พงศะบุตร ... [และคนอื่นๆ]. จากห้วงอวกาศสู่พื้นแผ่นดินไทย พ.ศ.2546. กรุงเทพฯ : สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยี
อวกาศและภูมิสารสนเทศ, 2546.
ไพโรจน์ บุญผูก. สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี พระผู้ทรงเปิดโลกกว้างทางเทคโนโลยีสารสนเทศ.
นิตยสารท้องถิ่น 39,4 (เม.ย. 2542) : 2-6.
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี เจ้าฟ้านักการศึกษา. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2534.
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี เจ้าฟ้านักพัฒนาทรัพยากรน้ำ. กรุงเทพฯ :
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2537.
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. ภาควิชาคหกรรมศาสตร์. สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี
เจ้าฟ้านักคหกรรมศาสตร์. กรุงเทพฯ : ภาควิชาคหกรรมศาสตร์ คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2544.
มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์. ศูนย์วัฒนธรรม. สมเด็จพระเทพรัตนฯ ของเรา. กรุงเทพฯ : ศูนย์วัฒนธรรม
มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์, 2534.
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ดุริยางคศิลปิน ปิ่นสยาม. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2544.
มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันวิจัยโภชนาการ. สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี เจ้าฟ้านักโภชนาการ.
นครปฐม : สถาบันวิจัยโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล, 2546.
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา. หนังสือที่ระลึก อาคารสิรินธร ณ สถาบันวิจัยไม้กลายเป็นหินและทรัพยากรธรณี
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เฉลิมพระเกียรติ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา วันพุธที่ 29 ตุลาคม 2551.
นครราชสีมา : มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา, 2551.
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. วันสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี 27 พฤศจิกายน 2539. กรุงเทพฯ :
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 2539.
มาณพ อิศรเดช. คนธรรพวาทีศรีรัตนโกสินทร์. กรุงเทพฯ : สำนักงานอุทยานการเรียนรู้, 2551.
มูลนิธิสายใจไทย. สารสายใจไทย ฉบับพิเศษ 20 ปี มูลนิธิสายใจไทย 2 เมษายน 2538. กรุงเทพฯ : มูลนิธิ, 2538.
มูลนิธิสายใจไทย. สารสายใจไทย ฉบับพิเศษ. กรุงเทพฯ : มูลนิธิสายใจไทย, 2534.
เมล็ดข้าว. นารีนครา ฉือลี่ นักเขียนวรรณกรรมจีนเลื่องชื่อในเมืองอู่ฮั่น พระราชนิพนธ์แปลในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี.
สกุลไทย 59,3057 (21 พ.ค. 2556) : 32-35.
เมล็ดข้าว. พระอารมณ์ขัน สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ในนิทรรศการ "ถ้าเดินเรื่อยไปย่อมถึง
ปลายทาง". สกุลไทย 56,2884 (26 ม.ค. 2553) : 32-35.
รหัส 16. เราทั้งผอง อักษรา เทวาลัย. กรุงเทพฯ : พี.วาทิน พับลิเคชั่น, 2541.
รุ้งฟ้า ฐิโณทัย. บรรณานุกรมและบรรณนิทัศน์ พระราชนิพนธ์ในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี.
ธุรกิจหนังสือ 2,4 (ก.ค.-ส.ค. 2534) : 27-40.
รุ้งฟ้า ฐิโณทัย และ ชนิดา จริยาพรพงศ์. พระราชนิพนธ์ในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ : บรรณานุกรมและบรรณนิทัศน์.
วารสารวิทยบริการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 13,1 (มิ.ย. 2534) : 5-14.
โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า. ทูลกระหม่อมอาจารย์. นครนายก : โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า, 2534.
โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า. สานอดีตสู่อนาคตสามทศวรรษทูลกระหม่อมอาจารย์ (พ.ศ. 2523-2553). นครนายก :
โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า, 2553.
ลูกพระเกี้ยวทูลเกล้าฯถวายห้องสมุดดิจิตอล. เดลินิวส์ (29 มี.ค.2542) : 27.
วรรณา วุฒฑะกุล. โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน. สกุลไทย 49, 2543 (15 ก.ค. 2546) : 104.
วันจันทร์ บวรพานิช. สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารีกับพระราชจริยวัตร...ด้านดุริยางคศิลป์.
วารสารกรมประชาสัมพันธ์ 9,100 (เม.ย. 2547) : 3-4.
วันดี ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา. ทูลกระหม่อมอาจารย์กับการบอกสักวา. เสนาศึกษา ล.58 (ส.ค.-ก.ย. 2534) : น.พิเศษ 1-10.
วันดี ปาลกะวงศ์ฯ. พระราชทานสัมภาษณ์พิเศษ. เสนาศึกษา 57,3 (ธ.ค. 2533-ม.ค. 2534) : พิเศษ 1-12.
วิรุณ ตั้งเจริญ. สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงสร้างสรรค์และรับสั่งถึงงานทัศน์ศิลป์.
มติชนสุดสัปดาห์ 16,802 (2 ม.ค. 2539) : 67.
ศรีปราชญ์ สามัคคีธรรม. สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จฯ พระราชดำเนินข้ามสหัสวรรษและ
ทรงบาตรปีใหม่ 2543 ณ จังหวัดตรัง. วารสารกรมประชาสัมพันธ์ 5,1 (ม.ค.-ก.พ. 2543) : 35-36.
ศีรีรัตน์ มณีชาญ. สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี "ไอที พริ๊นเซส". วารสารไทย 26,94
(เม.ย.-มิ.ย. 2548) : 10-18.
ศุภรัตน์ เลิศพาณิชย์กุล. เทพรัตนบรรณศิลป์ : พระอัจฉริยภาพด้านการประพันธ์ในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ
สยามบรมราชกุมารี. กรุงเทพฯ : นานมีบุ๊คส์, 2542.
ศุภรัตน์ เลิศพาณิชย์กุล. ทรงปรีชาชำนาญจีนภาษา. มติชนสุดสัปดาห์. 19,971 (30 มี.ค. 2542) : 34-36 ;
19,972 (6 เม.ย. 2542) : 35-36.
ศุภรัตน์ เลิศพาณิชย์กุล สุกัญญา บำรุงสุข และ วิไลวรรณ ปึงตระกูล. เรียงร้อยบรรณรัตน์ : บรรณานุกรมและ
ดรรชนีพระราชนิพนธ์ในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี. กรุงเทพฯ :
ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2542.
ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย. รายการ ทิพยสังคีต สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงระนาดและทรง
ขับร้องเพลงพระราชกุศล. กรุงเทพฯ : ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย, 2546.
สภาวิจัยแห่งชาติ ทูลเกล้าฯ ถวายรางวัลสภาวิจัยแห่งชาติ ประจำปี 2545 : รางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ แด่
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี. Update 17,181 (ก.ย. 2545) : 42-43.
สมเกียรติ วุฒิอาภรณ์. พระราชกรณียกิจสมเด็จพระเพทรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ณ จังหวัดเชียงราย.
ครูเชียงราย 35,200 (ก.พ. 2542) : 3-7.
สมเด็จพระเทพรัตน์ฯ เจ้าหญิงนักสะสมแสตมป์. วารสาร กสท. (เม.ย. 2542) : 6-7.
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ของชาวไทย. ธุรกิจก้าวหน้า 10,117 (เม.ย. 2541) : 9-12.
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ของชาวไทย. ธุรกิจก้าวหน้า 8,93 (เม.ย. 2539) : 17-21.
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ทรงเป็นเอกลักษณ์ของศิลปวัฒนธรรมไทย. ธุรกิจก้าวหน้า 12,140 (มี.ค. 2543) : 9-12.
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ "พระมิ่งขวัญชาวไทย". ธุรกิจก้าวหน้า 13,151 (มี.ค. 2544) : 11-16.
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี. นิตยสารท้องถิ่น 38,4 (เม.ย. 2541) : 2-9.
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารีกับรางวัลอินทิรา คานธี สาขาสันติภาพ การลดอาวุธ และการพัฒนา
ประจำปี พ.ศ. 2547. จดหมายข่าวห้องสมุดเฉพาะสำนักราชเลขาธิการ 21,1 (ต.ค. 2549-ม.ค. 2550) : 60-67.
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงมีพระราชดำรัสเปิดการประชุม. วารสารห้องสมุด 49,1 (ม.ค.-มี.ค. 2548) : 3.
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี "รัตนะ" แห่ง "รัตนโกสินทร์". วารสารมูลนิธิชัยพัฒนา (เม.ย. 2538) : 5-11.
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี สมเด็จเจ้าฟ้านักปราชญ์แห่งแผ่นดิน. เทศาภิบาล 94 (เม.ย. 2542) : 5-9.
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี สมเด็จเจ้าฟ้านักอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม และขนบธรรมเนียมประเพณีไทย.
วารสารมูลนิธิชัยพัฒนา (เม.ย. 2539) : 5-15.
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี สมเด็จเจ้าฟ้านักปราชญ์แห่งแผ่นดิน. เทศาภิบาล 94 (เม.ย. 2542) : 5-9.
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จฯ ไปทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจ ณ โรงเรียนนายร้อย
พระจุลจอมเกล้า. วารสารอันเนื่องมาจากพระราชดำริ 3,3 (ก.ค.-ก.ย. 2548) : 9-10.
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินไปทรงติดตามความก้าวหน้าของโรงเรียนตำรวจ
ตระเวนชายแดน ในเขตพื้นที่จังหวัดตาก. วารสารอันเนื่องมาจากพระราชดำริ 4,4 (ต.ค.-ธ.ค. 2549) : 17-18.
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินไปทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจในพื้นที่จังหวัดตาก น่าน
และเชียงใหม่. วารสารอันเนื่องมาจากพระราชดำริ 4,2 (เม.ย.-มิ.ย. 2549) : 10-14.
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินไปทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจในพื้นที่จังหวัดนราธิวาส
ยะลา และปัตตานี. วารสารอันเนื่องมาจากพระราชดำริ 4,4 (ต.ค.-ธ.ค. 2549) : 9-10.
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินไปทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจในพื้นที่จังหวัดบุรีรัมย์
และสุรินทร์. วารสารอันเนื่องมาจากพระราชดำริ 4,3 (ก.ค.-ก.ย. 2549) : 11-12.
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเปิดการสัมมนาหญ้าแฝกนานาชาติ ครั้งที่ 4
ณ เมืองคาราคัส สาธารณรัฐโบลีวาร์ แห่งเวเนซุเอลา. วารสารอันเนื่องมาจากพระราชดำริ 4,4 (ต.ค.-ธ.ค. 2549) : 13-14.
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเปิดงาน 60 ปี ครองราชย์ ประโยชน์สุข
ประชาราษฎร์ ณ ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ กรุงเทพมหานคร. วารสารอันเนื่องมาจากพระราชดำริ 4,3
(ก.ค.-ก.ย. 2549) : 9-10.
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จฯ ไปทรงเยี่ยมโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน ในเขตพื้นที่จังหวัด
สุราษฏร์ธานี นครศรีธรรมราช และชุมพร. วารสารอันเนื่องมาจากพระราชดำริ 3,3 (ก.ค.-ก.ย. 2548) : 11-12.
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินทรงเยือนประเทศจีนเพื่อกระชับสัมพันธไมตรีไทย-จีน.
กินรี 18,4 (เม.ย. 2544) : 94-96.
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ เสด็จพระราชดำเนินทรงเปิดงานมหกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ ปี 2554.
วารสารกรมวิทยาศาสตร์บริการ 59, 187 (ก.ย.2554) : 1-2.
สายไหม จบกลศึก. สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี อุปนายิกาผู้อำนวยการสภากาชาดไทย. วารสารวิชาการ 8,2
(เม.ย.-มิ.ย. 2548) : 2-6.
สำนักงาน กปร. สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา เจ้าฟ้ามหาจักรี สิรินธรฯ กับการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำริ.
กรุงเทพฯ : สำนักงาน กปร., 2536.
สำนักงานการประถมศึกษา กรุงเทพมหานคร. การคัดลายมือ. กรุงเทพฯ : สำนักงานการประถมศึกษา กรุงเทพมหานคร, 2529.
สำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ. สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา เจ้าฟ้ามหาจักรีสิรินธร รัฐสีมาคุณากรปิยชาติ
สยามบรมราชกุมารี กับการประถมศึกษา. กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ, 2527.
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา เจ้าฟ้ามหาจักรีสิรินธร รัฐสีมาคุณากรปิยชาติสยามบรมราชกุมารี. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์นิยมกิจ, 2525.
สำนักงานคณะกรรมการประถมศึกษาแห่งชาติ. สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา เจ้าฟ้ามหาจักรีสิรินธร รัฐสีมาคุณากรปิยชาติ
สยามบรมราชกุมารี กับการพัฒนาการศึกษา. กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ, 2529.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี เจ้าฟ้าของผู้ด้อยโอกาส
และคนพิการ. กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ, 2548.
สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ. สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี กับการอนุรักษ์มรดกไทย.
กรุงเทพฯ : ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ, 2532.
สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ. สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี กับวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยีไทย. กรุงเทพฯ : ฝ่ายนิเทศสัมพันธ์ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ, 2546.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารีกับการเสริมสร้างความเสมอภาคทาง
การศึกษา. กรุงเทพฯ : สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, 2556.
สำนักงานเสริมสร้างเอกลักษณ์ของชาติ. สารคดีเทอดพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี.
กรุงเทพฯ : โทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทย, 2534.
สำนักนายกรัฐมนตรี. ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งศาสตราจารย์พิเศษ. ราชกิจจานุเบกษา 108,5019
(มี.ค. 2534) : 2593 (**)
สัมภาษณ์ รศ.ดร.บุษกร กาญจนจารี พระอาจารย์ที่ปรึกษาของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี
สยามรัฐสัปดาหวิจารณ์ 34,42 (3-9 เม.ย. 2531) : 28-30.
สุจิตรา สุคนธทรัพย์ และ วิภาวดี ลี้มิ่งสวัสดิ์. สมเด็จพระรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี กับการส่งเสริมและพัฒนาเด็ก
และเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร ด้านอาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย. วารสารวิทยาศาสตร์การกีฬาและ
สุขภาพ 6,2 (ก.ค.-ธ.ค. 2548) : 7-15.
สุพัตรา ศิริวัฒน์. สมเด็จพระเทพรัตน์ฯ กับการอนุรักษ์มรดกไทย ด้านภาษาไทย. วชิราวุธานุสรณ์สาร 29,2
(6 เม.ย. 2553) : 25-40.
สุมณฑา พรหมบุญ. การพัฒนาการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์แบบทั่วทั้งโรงเรียน. วารสารไทย 24,85 (ม.ค.-มี.ค. 2546) : 25-32.
สุมณฑา พรหมบุญ และ ศุภรัตน์ เลิศพาณิชย์กุล, บรรณาธิการ. เทพรัตนเมธี. กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ, 2549.
สุมาวลี หงษ์ทอง. สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ กับร้านจำหน่ายสินค้าภูมิปัญญาท้องถิ่น. วารสารกรมประชาสัมพันธ์ 9,100 (เม.ย. 2547) : 5-6.
สุรศักดิ์ งามขจรกุลกิจ. พระราชปรัชญาประวัติศาสตร์ของพลโทหญิงสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี.
ศิลปวัฒนธรรม 17,6 (เม.ย. 2539) : 188-197.
สุวิชัย โกศัยยะวัฒน์. สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี กับการพัฒนาภาคตะวันออก.
วารสารพัฒนบริหารศาสตร์ 43,2 (2546) : 183-194.
เสกสรร สิทธาคม. สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี เอกอัครราชูปถัมภกมรดกวัฒนธรรมไทย.
สยามรัฐสัปดาหวิจารณ์ 51,45 (1-7 เม.ย. 2548) : 46-47.
เหมา, หนิง. สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ 'จีนศึกษา' จากมหาวิทยาลัยปักกิ่ง.
มติชนสุดสัปดาห์ 21,1077 (9 เม.ย. 2544) : 38-39.
อัครวัฒน์ โอสถานุเคราะห์. ในหลวงของเรา : บทพระราชทานสัมภาษณ์พิเศษ สมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าหญิงสิรินธรเทพรัตนสุดา :
สัมภาษณ์ 15 ข้าราชการชั้นผู้ใหญ่และผู้ใกล้ชิดเบื้องพระยุคลบาท. กรุงเทพฯ : ดอกหญ้ากรุ๊ป, 2545.
อินทีวร. สมเด็จพระเทพฯ : องค์ศิลปินผู้ทรงบันทึกเรื่องราวทางศิลปะ. บ้านและสวน 27,323 (ก.ค. 2546) : 40, 42, 44.
Chanette Navaratna. สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ กับข้าวไทย. กินรี 16,4 (เม.ย. 2542) : 46-49.
The Address of HRH Princess Maha Chakri Sirindhorn in the ceremony of Ramon Magsaysay Award presentation
at the Philipines' Cultural Center, 31 August 1991 Thailand foreign affairs newsletter|gno.9(Sept. 1991),4 Princess
to give talk, open IT conference set for June. Bangkok post (10 May 1995),1
Francois Lagirarde and Paritta Chalermpow Koanantakool, editors. Buddhist legacies in mainland southeast asia :
mentalities, interpretations and practices. Paris : École française d'Extrême-Orient, 2006.
Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn and school feeding in Thailand. Rom : World Food
Programme, 2005.
Lin Chang mao (ประพฤทธิ์ ศุกลรัตนเมธี) , translator. Hetang yuchu. Bangkok : Nanmee Books, 2007.
Office of Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn's Projects. Building good nutrition : foundation for
development thirty years of work by Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn. Bangkok :
Amarin Printing and Pub., 2010.
Prapassorn Sevikul, text editor ; editors, Vilaswongse Pongsabutra, Prapin Manomaivibool ; researchers, Pranee
Kullavanijaya ... [et al.]. From the Yellow River to the Chao Phraya River :in celebration of Her Royal
Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn patron of Thai-Chinese relations : on the auspicious occasion
of her 50th birthday anniversary, April 2, 2005. Bangkok : Thai Red Cross Society, 2005.
Reflections poems and drawings by Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn. Thailand illustrated
1,3(Apr.-Jul. 1983),8-13.
Suparat Lertpanichkul, Sukunya Bumroongsook, Suchitra Chongstitvatana, compilers. Bibliography of the works
of Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn. Bangkok : Princess Maha Chakri Sirindhorn Anthropology Centre, 1999.
Yuttasak Konboon. The royal functions of his majesty King Bhumibol Adulyadej and Members of the Royal Family
in Promoting the Relationship Between Thailand and the Lao Peoples Democratic Republic Thesis
(M.A. (Political Science))—Chulalongkorn University, 2003.